เมนู

20. วิปปยุตตปัจจัย


[145] 1. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
2. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-
สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

21. อัตถิปัจจัย


[146] 1. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี 1 วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
2. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ
3. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-
ธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
เหมือนกับ
ปฏิจจวาระ.
4. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 3 อยู่ คือที่เป็น สหชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ
5. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-
สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาตะ.
6. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ 1 ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 2 ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.
ขันธ์ 1 ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 2, ขันธ์ 2 ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
7. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ
รวมกับ อินทริยะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
จิตตสัมปยุตตขันธ์ และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
จิตตสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
จิตตสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น
ปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[147] ในเหตุปัจจัย มี 3 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 2 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 4 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 1 วาระ ในสมนันตรปัจจัย